ฟังก์ชันนั้นมีอยู่หลายรูปแบบ แต่ละแบบก็มีการตั้งชื่อไม่เหมือนกัน
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลก็เป็นอีกรูปแบบหนึ่งของฟังก์ชันซึ่งเราจะไปดูว่าฟังก์ชันเอกซ์โพนเนนเชียลนั้นมีรูปแบบอย่างไร
ก็ต้องไปดูนิยามของมันครับ ว่านิยามของฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล อ่านเพิ่มเติม
วันพุธที่ 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2560
ฟังก์ชันกำลังสอง
ฟังก์ชันกำลังสอง
ฟังก์ชันกำลังสอง คือ ฟังก์ชันที่อยู่ในรูป เมื่อ a,b,c เป็นจำนวนจริงใดๆ และ
ลักษณะของกราฟของฟังก์ชันนี้ขึ้นอยู่กับค่าของ
a , b และ c
และเมื่อค่าของ a
เป็นบวกหรือลบ
จะทำให้ได้กราฟเป็นเส้นโค้งหงายหรือคว่ำ อ่านเพิ่มเติม
ฟังก์ชันเชิงเส้น
ฟังก์ชันเชิงเส้น
ตัวอย่างฟังก์ชันที่เส้นแสดงเป็นฟังก์ชันเชิงเส้น มี เช่น:
{\displaystyle f_{1}(x)=2x+1} {\displaystyle f_{1}(x)=2x+1}
{\displaystyle f_{2}(x)=x/2+1} {\displaystyle f_{2}(x)=x/2+1}
{\displaystyle f_{3}(x)=x/2-1} {\displaystyle f_{3}(x)=x/2-1}
เส้นแสดงของฟังก์ชันเหล่านี้ ถูกแสดงไว้ที่รูปแสดงทางขวา อ่านเพิ่มเติม
{\displaystyle f_{1}(x)=2x+1} {\displaystyle f_{1}(x)=2x+1}
{\displaystyle f_{2}(x)=x/2+1} {\displaystyle f_{2}(x)=x/2+1}
{\displaystyle f_{3}(x)=x/2-1} {\displaystyle f_{3}(x)=x/2-1}
เส้นแสดงของฟังก์ชันเหล่านี้ ถูกแสดงไว้ที่รูปแสดงทางขวา อ่านเพิ่มเติม
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
คู่อันดับ (Order Pair) เป็นการจับคู่สิ่งของโดยถือลำดับเป็นสำคัญ เช่น
คู่อันดับ a, b จะเขียนแทนด้วย (a, b) เรียก a ว่าเป็นสมาชิกตัวหน้า และเรียก b ว่าเป็นสมาชิกตัวหลัง
(การเท่ากับของคู่อันดับ) (a, b) = (c,
d) ก็ต่อเมื่อ a = c และ b = d
ผลคูณคาร์ทีเชียน (Cartesian Product) ผลคูณคาร์ทีเซียนของเซต
A และเซต B คือ
เซตของคู่อันดับ (a, b) ทั้งหมด โดยที่ a เป็นสมาชิกของเซต
A และ b เป็นสมาชิกของเซต B อ่านเพิ่มเติม
การนำสมบัติของจำนวนจริงไปใช้ในเเก้สมาการกำลังสอง
การนำสมบัติของจำนวนจริงไปใช้ในเเก้สมาการกำลังสอง
ในการเขียนสัญลักษณ์แทนจำนวน นิยมใช้ตัวอักษรภาษาอังกฤษตัวเล็ก เช่น x,
y แทนจำนวน
และเรียกอักษรเหล่านั้นว่า ตัวแปร สำหรับตัวเลขที่แทนจำนวน เช่น 1,2,3 เรียกว่า
ค่าคงตัว เรียกข้อความในรูปสัญลักษณ์ เช่น2, 3x, 5+x,
x-8
ว่า นิพจน์ เรียกนิพจน์ที่เขียนให้อยู่ในรูปการคูณของค่าคงตัวกับตัวแปรตั้งแต่หนึ่งตัวขึ้นไป อ่านเพิ่มเติม
สมบัติของจำนวนจริงเกี่ยวกับการบวกและการคูณ
สมบัติของจำนวนจริงเกี่ยวกับการบวกและการคูณ
จำนวนตรรกยะ (rational number) เป็นจำนวนจริงที่สามารถเขียนได้ในรูปเศษส่วนของจำนวนเต็มที่ตัวส่วนไม่เป็นศูนย์
และเขียนในรูปทศนิยมซ้ำได้
จำนวนอตรรกยะ (irrational number) เป็นจำนวนจริงที่ไม่ใช่จำนวนตรรกยะซึ่งไม่สามารถเขียนในรูปทศนิยมซ้ำหรือเศษส่วนของจำนวนเต็มที่ตัวส่วนไม่เป็นศูนย์แต่เขียนได้ในรูปทศนิยม อ่านเพิ่มเติม
จำนวนจริง
จำนวนจริง
จำนวนจริง
คือจำนวนที่สามารถจับคู่หนึ่งต่อหนึ่งกับจุดบนเส้นตรงที่มีความยาวไม่สิ้นสุด
(เส้นจำนวน) ได้ คำว่า จำนวนจริง นั้นบัญญัติขึ้นเพื่อแยกเซตนี้ออกจากจำนวนจินตภาพ
จำนวนจริงเป็นศูนย์กลางการศึกษาในสาขาคณิตวิเคราะห์จำนวนจริง (real
analysis) อ่านเพิ่มเติม
การให้เหตุแบบนิรนัย
การให้เหตุแบบนิรนัย
การให้เหตุผลแบบนิรนัยเป็นวิธีการให้เหตุผลโดยสรุปผลจากข้อความซึ่งเป็นความจริงทั่วไปมาเป็นข้ออ้างเพื่อสนับสนุนให้เกิดข้อสรุปที่เป็นความรู้ใหม่ที่เป็นข้อสรุปส่วนย่อยข้อสรุปที่ได้จากการให้เหตุผล
แบบนิรนัยนั้นจะเป็นข้อสรุปที่อยู่ในขอบเขตของเหตุเท่านั้นจะเป็นข้อสรุปที่กว้างหรือเกินกว่าเหตุไม่ได้การให้เหตุผลแบบนิรนัยประกอบด้วยข้อความ2กลุ่มโดยข้อความกลุ่มแรกเป็นข้อความที่เป็นเหตุ อ่านเพิ่มเติม
การให้เหตุผลอุปนัย
การให้เหตุผลอุปนัย
การให้เหตุผลแบบอุปนัย (Inductive
Reasoning) เกิดจากการที่มีสมมติฐานกรณีเฉพาะ หรือเหตุย่อยหลายๆ เหตุ
เหตุย่อยแต่ละเหตุเป็นอิสระจากกัน มีความสำคัญเท่าๆ กัน และเหตุทั้งหลายเหล่านี้ไม่มีเหตุใดเหตุหนึ่งแสดงให้เห็นถึงความเป็นสมมติฐานกรณีทั่วไป
หรือกล่าวได้ว่า การให้เหตุผลแบบอุปนัยคือการนำเหตุย่อยๆ อ่านเพิ่มเติม
ยูเนียน อินเตอร์เซกชันและคอมพลีเมนต์ของเซต
ยูเนียน อินเตอร์เซกชันและคอมพลีเมนต์ของเซต
ยูเนียน อินเตอร์เซกชัน และคอมพลีเมนต์ของเซต
เป็นส่วนหนึ่งของการกระทำระหว่างเซต เรานิยมเขียนออกมาในสองรูปแบบด้วยกันคือแบบสมการ
และแผนภาพเวนน์-ออยเลอร์ เราลองมาดูกันครับว่ายูเนียน อินเตอร์เซกชัน
และคอมพลีเมนต์ของเซต เป็นอย่างไรพร้อมตัวอย่าง อ่านเพิ่มเติม
สับเซตเเละเพาเวอร์เซต
สับเซตเเละเพาเวอร์เซต
ถ้าสมาชิกทุกตัวของ A เป็นสมาชิกของ
B แล้ว จะเรียกว่า A เป็นสับเซตของ
B จะเขียนว่า
เซต A เป็นสับเซตของเซต B แทนด้วย A ⊂ B
ถ้าสมาชิกบางตัวของ A ไม่เป็นสมาชิกของ
B จะเรียกว่า A ไม่เป็นสับเซตของ
B
เอกภพสัมพัทธ์
เอกภพสัมพัทธ์
เอกภพสัมพัทธ์ คือ
เซตที่กำหนดขอบเขตของสิ่งที่ต้องการศึกษา ซึ่งถือว่าเป็นเซตที่ใหญ่ที่สุด
โดยมีข้อตกลงว่า ต่อไปจะกล่าวถึงสมาชิกของเซตนี้เท่านั้น
จะไม่มีการกล่าวถึงสิ่งใดที่นอกเหนือไปจากสมาชิกของเซตที่กำหนดขึ้นนี้
โดยทั่วไปนิยมใช้สัญลักษณ์ U แทนเอกภพสัมพัทธ์ อ่านเพิ่มเติม
เซต
เซต
ในทางคณิตศาสตร์นั้น อาจมองได้ว่าเป็นการรวบรวมกลุ่มวัตถุต่างๆ
ไว้รวมกันทั้งชุด แม้ว่าความคิดนี้จะดูง่ายๆ
แต่เซตเป็นแนวคิดที่เป็นรากฐานสำคัญที่สุดอย่างหนึ่งของคณิตศาสตร์สมัยใหม่
การศึกษาโครงสร้างเซตที่เป็นไปได้ ทฤษฎีเซตมีความสำคัญและได้รับความสนใจอย่างมากและกำลังดำเนินไปอย่างต่อเนื่อง อ่านเพิ่มเติม
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)